ชื่อ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
29, เมษายน 2024, 03:21:52 am
หน้าแรก ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก
ข่าว: :: Thontกล่องแอนดรอย livetv55 star4k hd2live iptvso เซิรฟskynet/500 ::

dvb

+  บอร์ดโบราณ ดาวเทียม - HD player - CCTV
|-+  อุปกรณ์เครื่องรับดาวเทียมทีวีดิจิตอล
| |-+  ถามตอบปัญหาดาวเทียมและทีวีดิจิตอล
| | |-+  ความชัดเจนเรื่อง การสอบใบรับรองช่างมืออาชีพ psi กับ ใบอนุญาติ รับติดตั้ง ของ กสทช.
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้ « หน้าที่แล้ว ต่อไป »
หน้า: 1 [2] ลงล่าง พิมพ์
ผู้เขียน หัวข้อ: ความชัดเจนเรื่อง การสอบใบรับรองช่างมืออาชีพ psi กับ ใบอนุญาติ รับติดตั้ง ของ กสทช.  (อ่าน 24412 ครั้ง)
tamhadaotiam
Sr. Member
****
กระทู้: 269


อีเมล์
« ตอบ #20 เมื่อ: 09, มีนาคม 2013, 11:18:07 pm »

ถ้าผมตีความเข้าข้างตัวเอง
ข้อ 13(3)การอนุญาตให้มีไว้เพื่อจำหน่ายหรือเพื่อรับติดตั้งแล้วแต่กรณีคราวละ 1000 บาท
--ผมจะขอชำระแค่ปีละ1000 (หนึ่งพันบาทถ้วน)เพราะผมมีไว้มีไว้เพื่อจำหน่ายหรือเพื่อรับติดตั้ง และผมรับติดตั้งด้วย ไม่ได้มีไว้เพื่อจำหน่ายอย่างเดียวตามข้อ13(2)

13(2) การอนุญาตมีไว้จำหน่ายคราวละ 5000 บาท**อันนี้จำหน่ายอย่างเดียวไม่ได้ติดตั้งด้วย เข้าใจเอาเอง**
13(3) การอนุญาตให้มีไว้เพื่อจำหน่ายหรือเพื่อรับติดตั้งแล้วแต่กรณีคราวละ 1000 บาท**จำหน่ายด้วยติดตั้งด้วย**

แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
makkorat
Jr. Member
**
กระทู้: 123


อีเมล์
« ตอบ #21 เมื่อ: 09, มีนาคม 2013, 11:34:08 pm »

หลงประเด็นครับ กสทช ให้ไปยื่นขอรับอนุญาต ไม่ใช่ไปสอบครับ งง
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
mounglop
Hero Member
*****
กระทู้: 553


อีเมล์
« ตอบ #22 เมื่อ: 10, มีนาคม 2013, 12:19:16 am »

ยิ่งอ่านก็ยิ่งงง ๆๆๆๆ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
7sats.com
7sat Global Tech
Hero Member
*****
กระทู้: 694



อีเมล์
« ตอบ #23 เมื่อ: 10, มีนาคม 2013, 09:20:13 am »

เพื่อน ๆ ช่างลองกับไปอ่านประกาศใหม่ดูนะครับ เขาบอกว่า "กิจการโทรทัศน์แบบบอกรับเป็นสมิกชิก"  นะครับ ไม่ใช่ทั่ว ๆ ไปนะครับ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า

7sat Global Tech 393 ม.ลาซาลเพลซ ซอยลาซาล24 ถนนสุขุมวิท105(ลาซาล) บางนา กรุงเทพฯ 10260
ร้านเปิด 8 โมงเช้า ถึง 2 ทุ่มทุกวัน โทรศัพฑ์ 081 841 9557 , แฟกซ์ 02 744 4488
karoono
Jr. Member
**
กระทู้: 135


อีเมล์
« ตอบ #24 เมื่อ: 10, มีนาคม 2013, 11:56:42 am »

ไม่ค่อย มีความเห็นเรื่องใบอณุญาต เท่าไหร่ แต่สนใจเรื่องราคา ถ้าจะกรุณาช่าง ช่วยโฆษณา ออกสื่อด้วยครับ เรื่องราคาพร้อมติดตั้ง ออกอากาศทางช่อง psi channel ไปเลย ครับ ชาวบ้านและ ช่างกระโลกกะลา ที่ชอบตัดราคา จะได้เข้าใจคับ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
satduo
Hero Member
*****
กระทู้: 861



อีเมล์
« ตอบ #25 เมื่อ: 10, มีนาคม 2013, 03:13:51 pm »

ตรงข้อ 4 บรรทัดท้ายๆ เขาเขียนกฎหมายดักไว้อีกทีนะครับ ว่า จะเก็บค่าบริการ หรือไม่ ก็ได้
คือ ถ้าให้ดูฟรี ก็ยังเข้า ข้อ4 น
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
dpongsree
Sr. Member
****
กระทู้: 424



อีเมล์
« ตอบ #26 เมื่อ: 10, มีนาคม 2013, 07:36:16 pm »

เพื่อน ๆ ช่างลองกับไปอ่านประกาศใหม่ดูนะครับ เขาบอกว่า "กิจการโทรทัศน์แบบบอกรับเป็นสมิกชิก"  นะครับ ไม่ใช่ทั่ว ๆ ไปนะครับ
ค่อยๆ อ่านกันใหม่ให้ชัดๆ แล้วค่อยๆ คิดตามไป เพื่อให้เข้าใจวัตุประสงค์ของประกาศ ผมอ่านแล้วเข้าใจว่าอย่างนี้ครับ ..
1-มีผลต่อกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกเท่านั้น ไม่ว่าจะเก็บรายเดือนหรือไม่ก็ตาม น่าจะหมายถึง ทรู แกรมมี่ ดีทีวี (น่าจะรวมพวกเคเบิ้ลด้วย) ที่เก็บแบบรายเดือนและ/หรือเติมเงิน พีเอสไอ ไอพีเอ็ม ฯลฯ ที่เก็บครั้งเดียวตอนซืื้อเครื่อง สังเกตดูคำนิยาม "การประกอบกิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์แบบบอกรับเป็นสมาชิก นั้น เขาหมายถึง การให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ประเภทที่ผู้ใช้บริการประสงค์จะรับบริการดังกล่าวตามเงื่อนไขที่ผู้ให้บริการกำหนด โดยผู้ให้บริการไม่ประสงค์จะให้บริการเป็นการทั่วไป ซึ่งจะมีค่าบริการหรือไม่ก็ได้"  .. เห็นได้ชัดว่าเขาใช้คำว่า "โดยผู้ให้บริการไม่ประสงค์จะให้บริการเป็นการทั่วไป ซึ่งมันก็หมายถึงเขาส่งคลื่นกระจายเสียงและโทรทัศน์ของเขาเองและไม่ได้ตั้งใจส่งให้ดูแบบสาธารณะที่ใครๆ ก็ดูได้ ด้วยการเข้าระหัสไว้ .. ชัดเจนครับว่าเขาหมายถึงผู้ประกอบการกลุ่มนี้เท่านั้น กลุ่มนี้ต้องจ่าย 10 บาทต่อเครื่องสำหรับที่ผลิตหรือนำเข้า และจ่ายอีกปีละ 5000 ในฐานะผู้จำหน่าย ตามด้วยอีกปีละ 1000 ในฐานะผู้มีไว้จำหน่ายหรือติดตั้ง
2-ร้านค้าทั่วไป .. ถ้าไม่ขายเครื่องของกลุ่มดังกล่าว ประมาณว่าขายและติดตั้งเครื่องที่ไม่มีการถอดระหัสการส่งกระจายเสียงและโทรทัศน์ของเขา ก็ไม่น่าจะเข้าข่าย อย่างไรก็ตาม ร้านค้ามากมายต้องขายเครื่องพวกนี้แน่ เช่น ไอพีเอ็ม พีเอสไอ เป็นต้น ซึ่งจะไปเข้าข่าย มีไว้จำหน่ายหรือติดตั้ง ก็ต้องขออนุญาตและจ่ายไป 1000 บาทต่อปี .. ไม่เห็นมีข้อไหนที่ระบุไว้ว่า ตัวช่างผู้ติดตั้งต้องขออนุญาตเป็นผู้ติดตั้ง หรือต้องมีใบอนุญาตในการติดตั้งเครื่องดังกล่าว ค่ารายปี 1000 บาท ตามความเข้าใจของผม น่าจะเป็นใบอนุญาตร้านค้าที่มีไว้เพื่อจำหน่ายหรือติดตั้ง เครื่องรับที่ถอดระหัสได้ของกิจการดังกล่าว
3-ที่บรรดากิจการดังกล่าว เช่น ไอพีเอ็ม พีเอสไอ ออกมาชวนช่างไปอบรมและออกใบรับรองให้นั้น ตามความเข้าใจของผม น่าจะเป็นความรับผิดชอบที่ผู้ประกอบการต้องมีผู้ติดตั้งที่มีความรู้ เชี่ยวชาญ เพื่อติดตั้งให้เครื่องรับของตนใช้งานได้เป็นอย่างดี เมื่อมีการร้องเรียน ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบ จะได้ติดตามได้ว่าใครเป็นผู้ติดตั้ง แต่ผู้ติดตั้งก็ไม่ต้องมีใบอนุญาตแต่อย่างใด .. ถ้าผมเข้าใจถูกต้อง ผู้ประกอบการ เช่น ไอพีเอ็ม พีเอสไอ ควรที่จะอธิบายและชี้แจงให้ปรรดาช่างผู้ติดตั้งจาน+เครื่องรับได้เข้าใจให้ถูกต้อง ว่า ที่อบรมและออกใบรับรองให้นั้นเป็นของกิจการของตัวเอง เพื่อรักษามาตรฐาน คุณภาพของกิจการ  ประมาณได้ว่าเริ่มเข้ามาดูแลคุ้มครองผู้บริโภคด้วย
** ทั้งหมดนี้เป็นความเข้าใจและเป็นความเห็นส่วนตัวที่อยากออกความเห็นมา ณ ที่นี้ เพราะเห็นว่าเป็นประเด็นร้อน และช่างติดจานยังไม่เข้าใจและออกมาบ่นกันมากมาย แต่ผมไม่เห็นคนที่รู้จริงๆ มาตอบกระทู้ซักคน พวกที่ชวนไปอบรมก็ไม่ชี้แจงอธิบายความให้กระจ่างชัด หากเข้าใจผิดก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผมก็เป็นแค่ สว (สูงวัย) ที่ไม่ชอบเจ้าของกิจการที่ชอบทำตัวผูกขาดและไม่เห็นหัวลูกค้า เลยจำเป็นต้องชอบติดจานด้วยตัวเอง **
ขอบคุณครับ

แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
dpongsree
Sr. Member
****
กระทู้: 424



อีเมล์
« ตอบ #27 เมื่อ: 10, มีนาคม 2013, 07:48:50 pm »

กสทชไม่เคยออกกฏหรือระเบียบอะไรเกี่ยวกับช่าง ที่พีเอสไอจัดอบรมก็เป็นเรื่องของพีเอสไอไม่เกี่ยวกัน ดังนั้นหากต่อไปหากกสทชจะสอบใบอณุญาตจริง อาจารย์สมพรจะรู้ได้อย่างไรว่ากสทชจะออกใบอณุญาตให้ช่างของพีเอสไอ สำคัญตัวเองผิดไปหรือเปล่า มิฉะนั้นโรงเรียนสอนขับรถยนต์ก็ออกใบรับรองให้นักเรียนขับรถยนต์ได้โดยไม่ต้องสอบใบขับขี่ หมู่บ้านจัดสรร ร้านวัสดุก่อสร้าง ก็ออกใบรับรองให้วิศวกรได้ อยากจะอบรมก็ทำไปเถอะ แต่อย่างสร้างราคาให้ตัวเองมากนักบนความไม่เข้าใจของช่าง ผมเองก็เคยไปอบรมหาความรู้กับพีเอสไอ แต่พออ้างแบบนี้ผมคงไม่อบรมด้วยอีก
ผมก็มีความเห็นแนวเดียวกับคุณ wat1960 ผมเห็นว่าผู้ให้การอบรมควรชี้แจงให้ชัดเจนครับว่าเป็นการอบรมเพื่อคุณภาพและมาตรฐานของสินค้าตัวเอง ไม่ใช่เหมารวมว่า ถ้ามีใบรับรองของตนแล้วไม่ต้องขอใบอนุญาตจาก กสทช เพราะ ไม่เห็นมีตรงไหนระบุไว้เลยว่า ช่างผู้ติดตั้งต้องขอใบอนุญาต .. มันเป็นแค่ใบรับรองที่ พีเอสไอรับรองว่าช่างที่ผ่านการอบรมจากพีเอสไอ สามารถติดตั้งพีเอสไอได้ดีมีคุณภาพตามมาตรฐานของพีเอสไอเท่านั้น ถ้า กสทช บังคับให้ช่างติดตั้งจาน+เครื่องรับต้องมีใบอนุญาตจริง ช่างผู้ได้รับใบอนุญาตคนนั้นต้องติดตั้งได้ทุกค่ายทุกจาน.. มิใช่หรือ??
ขอบคุณครับ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
makkorat
Jr. Member
**
กระทู้: 123


อีเมล์
« ตอบ #28 เมื่อ: 10, มีนาคม 2013, 07:59:53 pm »

ท่าน dpongsree พูดถูกใจมากครับ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
rangsanp
Hero Member
*****
กระทู้: 500


อีเมล์
« ตอบ #29 เมื่อ: 10, มีนาคม 2013, 09:24:34 pm »

 ใบอนุญาติ ถ้าเป็นกฎหมาย ก็ต้องปฏิบัติ มีใว้เหมือนใบขับขี่ เเต่การกำหนดราคาติดตั้ง ต้องดูหน้างานด้วยครับ  ติดครึ่งวันเสร็จ กับติด 20 นาที่เสร็จ ช่างควรมีน้ำใจตามความยากง่าย  ราคาตามหน้างานครับ  ประชาธิปไตยครับไม่ใช้ คอมฯ  มันหมดยุคสมัยเเล้ว   
    สงสัยต้องขายข้าวเเกงเเล้วเเละ ขาย  3,500  บาท  จะไปติดให้ใครเหนอ 
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
patsat.net
Sr. Member
****
กระทู้: 431


อีเมล์
« ตอบ #30 เมื่อ: 11, มีนาคม 2013, 07:43:13 am »

ปวดหัวแทน นีแหละประเทศไทย
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
satduo
Hero Member
*****
กระทู้: 861



อีเมล์
« ตอบ #31 เมื่อ: 11, มีนาคม 2013, 09:41:16 am »

เพื่อน ๆ ช่างลองกับไปอ่านประกาศใหม่ดูนะครับ เขาบอกว่า "กิจการโทรทัศน์แบบบอกรับเป็นสมิกชิก"  นะครับ ไม่ใช่ทั่ว ๆ ไปนะครับ
ค่อยๆ อ่านกันใหม่ให้ชัดๆ แล้วค่อยๆ คิดตามไป เพื่อให้เข้าใจวัตุประสงค์ของประกาศ ผมอ่านแล้วเข้าใจว่าอย่างนี้ครับ ..
1-มีผลต่อกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์แบบบอกรับสมาชิกเท่านั้น ไม่ว่าจะเก็บรายเดือนหรือไม่ก็ตาม น่าจะหมายถึง ทรู แกรมมี่ ดีทีวี (น่าจะรวมพวกเคเบิ้ลด้วย) ที่เก็บแบบรายเดือนและ/หรือเติมเงิน พีเอสไอ ไอพีเอ็ม ฯลฯ ที่เก็บครั้งเดียวตอนซืื้อเครื่อง สังเกตดูคำนิยาม "การประกอบกิจการกระจายเสียงหรือกิจการโทรทัศน์แบบบอกรับเป็นสมาชิก นั้น เขาหมายถึง การให้บริการกระจายเสียงหรือโทรทัศน์ประเภทที่ผู้ใช้บริการประสงค์จะรับบริการดังกล่าวตามเงื่อนไขที่ผู้ให้บริการกำหนด โดยผู้ให้บริการไม่ประสงค์จะให้บริการเป็นการทั่วไป ซึ่งจะมีค่าบริการหรือไม่ก็ได้"  .. เห็นได้ชัดว่าเขาใช้คำว่า "โดยผู้ให้บริการไม่ประสงค์จะให้บริการเป็นการทั่วไป ซึ่งมันก็หมายถึงเขาส่งคลื่นกระจายเสียงและโทรทัศน์ของเขาเองและไม่ได้ตั้งใจส่งให้ดูแบบสาธารณะที่ใครๆ ก็ดูได้ ด้วยการเข้าระหัสไว้ .. ชัดเจนครับว่าเขาหมายถึงผู้ประกอบการกลุ่มนี้เท่านั้น กลุ่มนี้ต้องจ่าย 10 บาทต่อเครื่องสำหรับที่ผลิตหรือนำเข้า และจ่ายอีกปีละ 5000 ในฐานะผู้จำหน่าย ตามด้วยอีกปีละ 1000 ในฐานะผู้มีไว้จำหน่ายหรือติดตั้ง
2-ร้านค้าทั่วไป .. ถ้าไม่ขายเครื่องของกลุ่มดังกล่าว ประมาณว่าขายและติดตั้งเครื่องที่ไม่มีการถอดระหัสการส่งกระจายเสียงและโทรทัศน์ของเขา ก็ไม่น่าจะเข้าข่าย อย่างไรก็ตาม ร้านค้ามากมายต้องขายเครื่องพวกนี้แน่ เช่น ไอพีเอ็ม พีเอสไอ เป็นต้น ซึ่งจะไปเข้าข่าย มีไว้จำหน่ายหรือติดตั้ง ก็ต้องขออนุญาตและจ่ายไป 1000 บาทต่อปี .. ไม่เห็นมีข้อไหนที่ระบุไว้ว่า ตัวช่างผู้ติดตั้งต้องขออนุญาตเป็นผู้ติดตั้ง หรือต้องมีใบอนุญาตในการติดตั้งเครื่องดังกล่าว ค่ารายปี 1000 บาท ตามความเข้าใจของผม น่าจะเป็นใบอนุญาตร้านค้าที่มีไว้เพื่อจำหน่ายหรือติดตั้ง เครื่องรับที่ถอดระหัสได้ของกิจการดังกล่าว
3-ที่บรรดากิจการดังกล่าว เช่น ไอพีเอ็ม พีเอสไอ ออกมาชวนช่างไปอบรมและออกใบรับรองให้นั้น ตามความเข้าใจของผม น่าจะเป็นความรับผิดชอบที่ผู้ประกอบการต้องมีผู้ติดตั้งที่มีความรู้ เชี่ยวชาญ เพื่อติดตั้งให้เครื่องรับของตนใช้งานได้เป็นอย่างดี เมื่อมีการร้องเรียน ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบ จะได้ติดตามได้ว่าใครเป็นผู้ติดตั้ง แต่ผู้ติดตั้งก็ไม่ต้องมีใบอนุญาตแต่อย่างใด .. ถ้าผมเข้าใจถูกต้อง ผู้ประกอบการ เช่น ไอพีเอ็ม พีเอสไอ ควรที่จะอธิบายและชี้แจงให้ปรรดาช่างผู้ติดตั้งจาน+เครื่องรับได้เข้าใจให้ถูกต้อง ว่า ที่อบรมและออกใบรับรองให้นั้นเป็นของกิจการของตัวเอง เพื่อรักษามาตรฐาน คุณภาพของกิจการ  ประมาณได้ว่าเริ่มเข้ามาดูแลคุ้มครองผู้บริโภคด้วย
** ทั้งหมดนี้เป็นความเข้าใจและเป็นความเห็นส่วนตัวที่อยากออกความเห็นมา ณ ที่นี้ เพราะเห็นว่าเป็นประเด็นร้อน และช่างติดจานยังไม่เข้าใจและออกมาบ่นกันมากมาย แต่ผมไม่เห็นคนที่รู้จริงๆ มาตอบกระทู้ซักคน พวกที่ชวนไปอบรมก็ไม่ชี้แจงอธิบายความให้กระจ่างชัด หากเข้าใจผิดก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผมก็เป็นแค่ สว (สูงวัย) ที่ไม่ชอบเจ้าของกิจการที่ชอบทำตัวผูกขาดและไม่เห็นหัวลูกค้า เลยจำเป็นต้องชอบติดจานด้วยตัวเอง **
ขอบคุณครับ


ขอบคุณครับท่านทำให้เข้าใจขึ้นอีกเยอะเลย
แสดงว่า ผู้ออกกฎหมาย ต้องการ แยก ระหว่าง เสาอากาศอนาล็อก กับ Dvb-T , Dvb-S และ Dvb-C ออกจากกัน  ซึ่งประเด็น จะเห็นได้ชัด ในคำว่า ผู้ให้บริการ ไม่ประสงค์จะให้บริการ เป็นการทั่วไป. พูดง่ายๆคือ กฎหมาย ต้องการเก็บเงิน จาก เครื่องรับ ที่ขึ้นต้นว่า Dvb นั่นแหละ
ต้องเข้าใจ จุดประสงค์ของกฎหมาย  ต้องการเพิ่มรายได้ให้รัฐ

สรุป
1.เขาจะเก็บค่าใบอนุญาติ จาก เครื่อง Dvb นำเข้า ผลิต ให้ยืม ยังเก็บเลย
2.ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็น
   - ผู้ขาย โดนเยอะหน่อย
   - ผู้ติดตั้ง โดนน้อยหน่อย
ทางเลี่ยงสำหรับช่าง
1.อย่าขาย ถึงขาย ก็อย่าให้มีหลักฐานการขาย
2.อย่าติดตั้งโดยเปิดเผย แอบๆติด หลังบ้านลูกค้า
3.อย่าติดสติ๊กเกอร์ที่รถ ว่ารับติดตั้ง เพราะจำนนด้วยหลักฐาน
4.ติดตั้งโดยมีสังกัด คือโยนภาระรับผิดชอบ ไปให้บริษัทจาน แบบที่ Psi กับ Ipm จะมาช่วยรองรับให้
5.พยายามหลีกเลี่ยงคำว่า จำหน่าย ให้มีแค่คำว่าติดตั้ง ก็พอ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
sriracha09
Hero Member
*****
กระทู้: 643


อีเมล์
« ตอบ #32 เมื่อ: 11, มีนาคม 2013, 09:53:56 am »

แล้วถ้า ลูกค้าซื้อไปติดเอง นี่  เขาจะโดนจับไหม
ไม่ครับ เพราะเขามีทะเบียนบ้านตัวเองมายืนยันกับเจ้าพนักงานอบต.
ดูหน้าตา ใบอนุญาติ เปล่าๆ


มุงกระเบื้องหลังคาต้องระบุยี่ห้อและร้านที่ซื้อมารึเปล่านี่
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
satduo
Hero Member
*****
กระทู้: 861



อีเมล์
« ตอบ #33 เมื่อ: 12, มีนาคม 2013, 04:38:46 pm »

กฏหมาย กสทช.นี้เขาบังคับเฉพาะ กิจการที่ใช้ประโยชน์จาก คลื่น ครับ ไม่ว่าจะเป็น V U 2g 3g  4g microwave ฯลฯ
แต่การมุงหลังคา ไม่ได้ใช้ประโยชน์จากคลื่น ความถี่ใดๆ ไม่เข้าข่าย
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
jp
Sr. Member
****
กระทู้: 328


อีเมล์
« ตอบ #34 เมื่อ: 16, มีนาคม 2013, 08:26:40 pm »

กสทชไม่เคยออกกฏหรือระเบียบอะไรเกี่ยวกับช่าง ที่พีเอสไอจัดอบรมก็เป็นเรื่องของพีเอสไอไม่เกี่ยวกัน ดังนั้นหากต่อไปหากกสทชจะสอบใบอณุญาตจริง อาจารย์สมพรจะรู้ได้อย่างไรว่ากสทชจะออกใบอณุญาตให้ช่างของพีเอสไอ สำคัญตัวเองผิดไปหรือเปล่า มิฉะนั้นโรงเรียนสอนขับรถยนต์ก็ออกใบรับรองให้นักเรียนขับรถยนต์ได้โดยไม่ต้องสอบใบขับขี่ หมู่บ้านจัดสรร ร้านวัสดุก่อสร้าง ก็ออกใบรับรองให้วิศวกรได้ อยากจะอบรมก็ทำไปเถอะ แต่อย่างสร้างราคาให้ตัวเองมากนักบนความไม่เข้าใจของช่าง ผมเองก็เคยไปอบรมหาความรู้กับพีเอสไอ แต่พออ้างแบบนี้ผมคงไม่อบรมด้วยอีก
ในความเข้าใจผมนะ น้าจะเป็นการสร้างเครือข่าย 1 อำเภอ 1 ศูนย์ psi หรือเปล่าครับ หากเป็นเช่นนี้ผมก็ยินดีเหมือนกันอยู่นะครับ แอบเชียนิดๆครับ
แจ้งลบกระทู้นี้หรือติดต่อผู้ดูแล   บันทึกการเข้า
หน้า: 1 [2] ขึ้นบน พิมพ์ 
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
กระโดดไป:  
 
ติด Banner ด้านล่างติดต่อ boransat@gmail.com
กระทู้ ความคิดเห็น บทความ ข้อความใด ๆที่ได้อ่านในบอรดนี้ เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ ผู้ดูแล ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยและ ไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรองด้วยตัวเอง และถ้าพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย ศิลธรรม กรุณาแจ้งมาที่ boransat@gmail.com เพื่อที่ทีมงานจะได้ดำเนินการต่อไป



เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.7 | SMF © 2006-2008, Simple Machines LLC | Thai language by ThaiSMF Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.03 วินาที กับ 19 คำสั่ง